IV drip therapy or IV drip infusion is a fast-growing beauty and wellness trend that delivers vitamins, minerals, and antioxidants directly into the bloodstream, allowing for rapid absorption and quick results. IV drip originally used in medical settings to treat dehydration and nutrient deficiencies, IV drips are now popular in spas and wellness clinics for […]
เครื่องให้การรักษาด้วยคลื่นกระแทกชนิดเรเดียล (Radial Shockwave Therapy)คือ คลื่นกระแทกหรือคลื่นเสียงความถี่ต่ำที่ต้องอาศัยตัวกลางในการแพร่ผ่าน เป็นแรงอัดกระแทกลงไปยังเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบ พังผืดหรือหินปูน จะกระตุ้นให้ร่างกายซ่อมแซ่มตัวเองโดยการสร้างเซลล์ไหม่และเพิ่มหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ อาการใดบ้างที่สามารถรักษาได้
บทความสุขภาพทั้งหมด
IV Drip Therapy: How Does It Work?, Benefits and Self-Care Instruction
IV drip therapy or IV drip infusion is a fast-growing beauty and wellness trend that delivers vitamins, minerals, and antioxidants directly into the bloodstream, allowing for rapid absorption and quick results. IV drip originally used in medical settings to treat dehydration and nutrient deficiencies, IV drips are now popular in spas and wellness clinics for […]
Ulthera: The Solution for Skin Lifting and Tightening
Ulthera, or Ultherapy, is a non-surgical treatment that lifts and tightens the skin on areas like the face, neck, and under the chin, as well as reduces lines and wrinkles on the chest. Approved by the FDA, Ulthera is a popular option for those looking for a natural, lifted look without surgery or downtime. Ulthera […]
Botox: A Guide to Cosmetic and Medical Uses
Botox is a purified form of botulinum toxin type A, a neurotoxin that temporarily blocks nerve signals to muscles. When administered in controlled doses, Botox prevents muscle contractions, effectively smoothing wrinkles and addressing specific medical conditions. The effects typically last 3 to 6 months, depending on the treatment area and individual response. If you’re searching […]
A Complete Guide to Understanding Fractures: Types, Symptoms, Treatment Options, and Recovery
What is a Fracture? Fractures, or broken bones, are common injuries experienced by people of all ages, from children to older adults. Whether it’s due to an accident, sports injury, or age-related bone weakness, fractures require proper diagnosis, treatment, and care for effective healing. This article provides a comprehensive overview of fractures, covering different types, […]
Understanding Stroke: A Guide to Prevention, Symptoms, and Recovery
What is a stroke? A stroke is a life-threatening medical emergency that demands immediate action and awareness. It occurs when blood flow to a part of the brain is interrupted, leading to the death of brain cells. This interruption often results in severe disabilities or even death. As one of the leading causes of mortality […]
โรคฮีทสโตรก (Heat Stroke) หรือโรคลมแดด
รู้จักโรคลมแดด โรคลมแดดหรือภาวะฉุกเฉินจากความร้อน (Heatstroke) เป็นภาวะที่เกิดจากร่างกายมีความร้อนสูงเกินไป ซึ่งมักเกิดจากการทำงาน ใช้แรงงาน หรือออกกำลังกายอย่างหนักในภาวะแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง โดยภาวะฮีทสโตรกมักเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิร่างกายสูง 40 องศาเซลเซียส (104 ฟาเรนไฮต์) หรือมากกว่า และมักจะเกิดในช่วงฤดูร้อนหรือบริเวณที่มีความชื้นในอากาศสูง ภาวะ Heatstroke อาจทำให้เกิดอันตรายต่ออวัยวะสำคัญ เช่น สมอง หัวใจ ปอด ไต และกล้ามเนื้อได้ หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องอย่างทันท่วงที ที่สำคัญหากผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ล่าช้าจะมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อันตราย โดยบางรายถึงขั้นพิการและเสียชีวิตได้ ลมแดดกับโรคหลอดเลือดสมอง ภาวะ Heatstroke แตกต่างจาก Stroke ซึ่งเป็นภาวะฉุกเฉินอีกชนิดของระบบประสาทที่เกิดจากหลอดเลือดสมองตีบ / อุดตัน (Ischemic Stroke) หรือแตก (Hemorrhagic Stroke) ซึ่งมักจะทำให้เกิดอาการอ่อนแรง ชา พูดลำบาก ปากเบี้ยว หรือการทรงตัวผิดปกติเฉียบพลัน โดยผู้ป่วย Stroke ต้องได้รับการรักษาเร่งด่วนเช่นกัน แต่จะมีแนวทางการวินิจฉัยและการรักษาที่แตกต่างไปจาก Heatstroke สาเหตุโรคลมแดด โรคลมแดดแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ตามสาเหตุที่ทำให้เกิด ได้แก่ ปัจจัยเสี่ยงโรคลมแดด ปัจจัยเสี่ยงหลายอย่าง ทำให้ผู้ป่วยบางรายมีโอกาสเกิดโรคลมแดดได้ง่ายขึ้น ได้แก่ อาการโรคลมแดด ผู้ป่วยที่เป็นโรคลมแดดจะมีอุณหภูมิร่างกาย (Core Body Temperature) 40 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า ร่วมกับภาวะความรู้สติเปลี่ยนแปลง โดยอาจมีอาการสับสน กระวนกระวาย เพ้อ และชักหรือหมดสติได้ ร่วมกับภาวะหัวใจเต้นเร็ว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยบางรายจะมีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ผิวหนังแดงและร้อนแต่แห้ง ยกเว้นผู้ป่วย Exertional Heatstroke มีบางรายที่ผิวหนังจะชื้นเล็กน้อยได้ ตรวจวินิจฉัยโรคลมแดด แพทย์สามารถวินิจฉัยโรคลมแดดได้จากการทราบประวัติว่าผู้ป่วยมีสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะนี้โดยเฉพาะการสัมผัสกับความร้อน (Heat […]
6 อาการเสี่ยงโรคหัวใจ
แม้โรคหัวใจ จะพบมากในผู้สูงอายุ แต่ในปัจจุบันกลับพบว่าคนที่อายุยังน้อยหรือวัยรุ่นก็มีความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจได้มากเช่นกัน บางคนอายุแค่ 30 – 35 ปี ก็เป็นโรคหัวใจแล้ว ส่วนใหญ่มักเกิดจากความผิดปกติที่เป็นมาตั้งแต่กำเนิด รวมทั้งเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต การไม่ดูแลสุขภาพที่ทำให้เสี่ยงเป็นโรคหัวใจ ฉะนั้นการลด ละ เลี่ยง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวเองก็สามารถลดความเสี่ยง หรือป้องกันการเกิดโรคหัวใจในอนาคตได้ 5 พฤติกรรมเสี่ยงโรคหัวใจ ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้หลอดเลือดหัวใจเสื่อมสภาพ เกิดได้จาก 2 ปัจจัย ได้แก่ 1. ปัจจัยเสี่ยงทางร่างกายที่สามารถป้องกันได้ คือโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และการสูบบุหรี่ 2.พันธุกรรม ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันหรือแก้ไขไม่ได้ แต่การป้องกันโรคดีและสำคัญกว่าการรักษาโรค โดยห่างไกลได้ด้วยการเลี่ยง 5 พฤติกรรมเหล่านี้ 1. การรับประทานอาหารไขมันสูง ไขมันทรานส์ – อาหารคอเลสเตอรอลสูง เช่น เค้ก เบเกอรี่ เนื้อสัตว์ติดมัน ชีส อาหารสำเร็จรูป ฟาสต์ฟู้ด ขาหมู หมูสามชั้น หนังสัตว์ทอด แกงกะทิมันๆ ต่างๆ และอาหารปิ้งย่าง เมื่อรับประทานอาหารประเภทนี้เข้าไปในปริมาณมาก […]
Shockwave Therapy
เครื่องให้การรักษาด้วยคลื่นกระแทกชนิดเรเดียล (Radial Shockwave Therapy)คือ คลื่นกระแทกหรือคลื่นเสียงความถี่ต่ำที่ต้องอาศัยตัวกลางในการแพร่ผ่าน เป็นแรงอัดกระแทกลงไปยังเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบ พังผืดหรือหินปูน จะกระตุ้นให้ร่างกายซ่อมแซ่มตัวเองโดยการสร้างเซลล์ไหม่และเพิ่มหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ อาการใดบ้างที่สามารถรักษาได้
High Power Laser Therapy (HPLT)
เครื่องให้การรักษาด้วยแสงเลเซอร์กำลังสูง (High Power Laser Therapy) คือ การรักษาโดยใช้แสงเลเซอร์ที่มีพลังงานความเข้มสูงผ่านไปยังเนื้อเยื่อของร่างกายเพื่อเร่งกระบวนการซ่อมแซมซ่อมสร้างของเนื้อเยื่อที่มีการบาดเจ็บให้ฟื้นตัวได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้นช่วยลดอาการปวด อาการบวม และลดการอักเสบภายในเนื้อเยื่อโดยสามารถรักษาได้อย่างครอบคลุมทั้งในกลุ่มอาการบาดเจ็บระยะเฉียบพลันและระยะเรื้อรัง อาการใดบ้างที่เหมาะสำหรับการรักษาด้วยแสงเลเซอร์กำลังสูงㆍ ปวด บวม อักเสบในระบบกระดูกและกล้ามเนื้อㆍ ภาวะเจ็บเอ็นกล้ามเนื้อหรือกล้ามเนื้ออักเสบㆍ ภาวะข้อไหล่ติด ยกแขนได้ไม่สุดㆍ ภาวะปวดในข้อต่อ ข้อเข่าเสื่อม ข้อสะโพกเสื่อมㆍ หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทㆍ ภาวะปวดร้าวลงขาจากการกดทับของเส้นประสาทบริเวณกล้ามเนื้อสะโพกㆍ ภาวะอักเสบของกล้ามเนื้อเส้นประสาทใบหน้าㆍ พังผืดข้อมือ ชาปลายมือปลายนิ้วㆍ รองช้ำที่ฝาเท้าㆍ บาดเจ็บจากการเล่นกีฬาㆍ แผลกดทับ แผลจากโรคเบาหวาน ข้อห้ามในการรักษาㆍบริเวณรอบดวงตา หรือนัยน์ตาㆍผู้ป่วยโรคมะเร็ง เนื้องอกㆍผู้ที่มีภาวะโรคเส้นเลือดอุดตันㆍผู้ที่มีภาวะโรคเลือดไหลไม่หยุดㆍสตรีมีครรภ์ㆍเด็ก (บริเวณกระดูกที่ยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่) ความถี่ในการรักษาแนะนำให้ทำการรักษาที่ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ ควรเข้ารับการรักษาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องเพื่อให้การรักษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเห็นผลหลังการรักษาได้ทันทีในกาวะที่มีอาการบาดเจ็บเฉียมพลับ หรือเห็นผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงได้ใน 4-6 ครั้งในกรณีที่มีอาการปวดมาอย่างยาวนาน
การตรวจหาเชื้อ H.Pylori ด้วยวิธีเป่าลมหายใจ
รู้เท่าทันโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก (dengue hemorrhagic fever) เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี (dengue virus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค มักพบในประเทศเขตร้อนและระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี อาการของโรคไข้เลือดออกมีตั้งแต่ไม่มีอาการผิดปกติไปจนถึงเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที สาเหตุของโรคไข้เลือดออก เชื้อไวรัสเดงกีซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 4 สายพันธุ์ คือ DENV-1, DENV-2, DENV-3 DENV-4 นั้นมียุงลายตัวเมียเป็นพาหะนำโรค เมื่อยุงลายดูดเลือดผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี เชื้อจะเข้าไปฝังตัวภายในกระเพาะและต่อมน้ำลายของยุงโดยมีระยะฟักตัวประมาณ 8-12 วัน เมื่อยุงที่มีเชื้อไวรัสไปกัดคนอื่นๆ ต่อ เชื้อไวรัสก็จะเข้าสู่กระแสเลือดของผู้ที่โดนกัด ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกตามมา ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่เคยได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใดจะมีภูมิคุ้มกันเฉพาะสายพันธุ์นั้น หากได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์ที่ต่างออกไปจากครั้งแรกก็สามารถเป็นไข้เลือดออกได้อีก และโดยทั่วไปอาการของโรคครั้งที่สองมักรุนแรงกว่าครั้งแรก ทั้งนี้ ในแต่ละปีพบว่ามีการกระจายของเชื้อทั้ง 4 สายพันธุ์หมุนเวียนกัน และมีเชื้อที่เด่นแตกต่างกันไปในแต่ละปี ทำให้มีการระบาดของโรคมาโดยตลอด เนื่องจากประชาชนไม่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัสสายพันธุ์นั้นๆ ปัจจัยเสี่ยงของโรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออกสามารถพบได้ทุกเพศทุกวัย แต่พบบ่อยในเด็กวัยเรียนและวัยทำงานตอนต้น ซึ่งผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อการดำเนินโรคที่รุนแรงหรือภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ อาการของโรคไข้เลือดออก อาการของผู้ที่ติดเชื้อไวรัสเดงกีนั้น แบ่งเป็น 2 ชนิดตามความรุนแรง คือ โรคไข้เดงกี (dengue fever) ซึ่งอาการที่พบได้แก่ ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ปวดเมื่อยตามตัว ปวดข้อหรือกระดูก […]